1) DATA (ดาต้า) หมายถึง ข้อมูล ทุกสิ่งที่นำเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
2) DATABASE หมายถึง ฐานข้อมูล ที่รวมของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน และจัดเป็นหมวดหมู่เพื่อให้ค้นคืนได้ง่าย
3) DIGITAL หมายถึง ดิจิตอล, การแสดงข้อมูลในรูปของตัวเลข
4) FILE (ไฟล์) หมายถึง แฟ้มข้อมูล กลุ่มของเรดคอร์ดตั้งแต่ 1 เรดคอร์ดขึ้นไปรวมถึงมีความหมายเกี่ยวพันในเรื่องเดียวกัน เช่น เรดคอร์ดของพนักงานทั้งหมดในบริษัท
5) HARDWARE (ฮาร์ดแวร์) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น จอมอนิเตอร์ เคส ฮาร์ดดิสก์
6) SOFTWARE (ซอฟต์แวร์) หมายถึง โปรแกรมควบคุมระบบ โปรแกรมอำนวยความสะดวกหรือโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ( sortware packege : โปรแกรมสำเร็จรูป )
7) LOGIN หมายถึง การติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์
8) LOGOUT หมายถึง การเลิกติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เลิกการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
9) LOAD หมายถึง บรรจุ การบรรจุโปรแกรมจากแผ่นจานแม่เหล็กลงสู่หน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์
10) MODEM หมายถึง โมเด็ม อุปกรณ์รอบนอกชนิดหนึ่งซึ่งช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถส่งและรับข้อมูลผ่านทางสายโทรศัพท์ อุปกรณ์สื่อสารข้อมูลมีหน้าที่แปลงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินอลเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งผ่านสายโทรศัพท์และเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์เมื่อถึงปลายทาง ย่อมาจาก “Modulate Demodulator”
11) ON-LINE (ออนไลน์) หมายถึง การทำงานโดยการติดต่อสื่อสารโดยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ การทำงานโดยอยู่ในความควบคุมของซีพียู เช่น เครื่องพิมพ์ ถ้า ON-LINE จะรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ จะไปรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์
12) NETWORK หมายถึง เครือข่าย ระบบที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์
หรือเครื่องเทอร์มินอล หรือ
1. การเป็นสมาชิกมีสายสัมพันธ์กับองค์กร เพื่อประโยชน์ทางข้อมูลข่าวสารและวิชาชีพ
2. ในวงการเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง เครือข่ายการสื่อสารผ่านส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ในระบบนั้น เช่น เครือข่ายของระบบโทรคมนาคม ,เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องอาศัยเชื่อมโยงกับระบบโทรคมนาคมด้วย หรือ
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อต่อกันเป็นกลุ่มโดยระบบเครือข่ายมีทั้งระบบเครือข่ายคลุมพื้นที่กว้าง (LAN :Local Area Network) , ระบบเครือข่ายส่วนบุคคลหรือกึ่งส่วนบุคคลปกติไว้ใช้รับส่งข้อมูลเชิงพาณิชย์ (VAN : Value-Added Network), ระบบเครือข่ายในเขตปริมณฑล (MAN : Metropolitan Area Network) ระบบเครือข่ายในมหาวิทยาลัย (CAN : campus Area Network)
13) PASSWORD หมายถึง รหัสผ่าน รหัสซึ่งเป็นความลับ รู้เฉพาะผู้ใช้งานเพียงคนเดียวใช้ในการติดต่อระบบที่มีผู้ใช้งานหลายคนเพื่อป้องกันบุคคลอื่นซึ่งไม่มีหน้าที่เข้าถึงโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูล
14) IP หรือ Internet Protocol หมายถึง มาตรฐานในการติดต่อสื่อสารเลเยอร์ (Layer) ที่ 3 (มาตรฐาน ISO มี 7 Layer) ของเครือข่ายที่ควบคุมกิจกรรมในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบอินเตอร์เน็ต
15) IRC หรือ Internet Relay Chat หมายถึง โปรแกรมบริการ ที่ทำให้ผู้ใช้สามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่นในระบบอินเตอร์เน็ต
16) ISP หรือ Internet Service Provider หมายถึง ผู้ให้บริการทางอินเตอร์เน็ต โดยคดค่าบริการจากเวลาในการใช้งานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อัตราค่าบริการขึ้นกับบริษัทของแต่ละประเทศ ตัวอย่างผู้ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย เช่น เคเอสซี , ไอเน็ต, เอเน็ต, ล็อกซ์อินโฟ, เอเชียเน็ต เป็นต้น
17) MIME ย่อมาจาก Multipurpose Internet Mail Extensions หมายถึง มาตรฐานสำหรับระบุชนิดของข้อมูล ซึ่งถูกคิดค้นมาเพื่อการแนบไฟล์ไปกับอี-เ มล์ (E-mail) แต่ต่อมาถูกใช้ในหลายๆ งาน เช่น ระบบเวบ (Web) ด้วย เช่น เท็กซ์/เอชทีเอ็มแอล (text/html) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และเป็นข้อมูล HTML
18) SLIP หรือ Serial Lind Internet Protocol หมายถึง ข้อกำหนด หรือวิธีของการเชื่อมโยงอินเตอร์เน็ตแบบอนุกรม โดยผู้ใช้หรือบริษัทใช้สายโทรศัพท์และโมเด็ม (Modem) โดยไม่ต้องผ่าน เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Host computer) เพื่อเชื่อมโยงกับระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมโยง “SLIP” ต้องเช่าจากผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP)
19) TCP/IP หรือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol หมายถึง กฏเกณฑ์ หรือมาตรฐานที่ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันในระบบอินเตอร์เนต ให้ติดต่อกันได้โดย IP ทำหน้าที่แยกข่าวสาร (Message) เป็น Package ย่อยๆ ส่วน TCP ทำหน้าที่จัด และรวม packets ทั้งหมดเป็นข่าวสาร
20) VOIP ย่อมาจาก Voice Over IP หรือ Voice Over Internet Protocol หมายถึง เทคโนโลยีส่งข้อมูลแบบเสียง โดยนำข้อมูลเสียงมา แปลงให้อยู่ในรูปของ Packet แบบ IP แล้วส่งไปในเครือข่าย
วันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information Systems)
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การที่นำระบบคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ในการดำเนินงานทางธุรกิจ การจัดการระบบสารสนเทศได้รับการยอมรับว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยสร้างความแข็งแกรงเชิงกลยุทธ์ โดยพัฒนาความสามารถในการแข่งขันให้กับองค์การ เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนำมาประยุกต์ให้การปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ ขององค์การมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น การผลิต การขาย การตลาด การจัดการทางการเงิน และทรัพยากรบุคคล ประการสำคัญหลายองค์การได้ให้ความสนใจในการพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร เพื่อให้การตัดสินใจในปัญหาหรือโอกาสทางธุรกิจมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ซึ่งจะช่วยสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์การระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information Systems) หรือที่เรียกว่า EIS หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะ และความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร เนื่องจากผู้บริหารเป็นกลุ่มบุคคลที่ต้องการข้อมูลที่มีลักษณะเฉพาะ โดยเฉพาะด้านระยะเวลาในการเข้าถึงและทำความเข้าใจกับข้อมูล โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันทางธุรกิจที่เกิดขึ้นและปรับตัวอย่างรวดเร็วในปัจจุบันได้สร้างแรงกดดัน
ให้ผู้บริหารต้องตัดสินใจภายใต้ข้อจำกัดของทรัพยากรทางการจัดการ ระยะเวลา ข้อมูล และการดำเนินงานของคู่แข่งขัน นอกจากนี้ผู้บริหารหลายคนยังมีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศที่จำกัด โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูงที่มีอายุมากและไม่มีโอกาสได้พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะด้านการใช้งานสารสนเทศ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาและออกแบบระบบสารสนเทศที่สามารถช่วยให้ผู้บริหารปฏิบัติงานอย่างมี
ประสิทธิภาพ ระบบข้อมูลสำหรับผู้บริหารต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร บางครั้งจะเรียกว่า ระบบสนับสนุนผู้บริหาร (Executive Support System) หรือ ESS
คุณสมบัติของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
เพื่อให้การใช้งานของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารเกิดประโยชน์ สูงสุด ดังนั้น ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารควรมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning Support)
การพัฒนาระบบ EIS ผู้พัฒนาจะต้องมีความรู้ในเรื่องกลยุทธ์ธุรกิจ (Business Strategy) และปัจจัยสำคัญในการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Factors) เพื่อที่จะสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการช่วยเพิ่มประสิทธ์ภาพในการกำหนดแผนทางกลยุทธ์ที่สมบูรณ์
2. เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment Focus)
เนื่องจากข้อมูล หรือสารสนเทศ เป็นสิ่งสำคัญมากที่จะนำมาประกอบการตัดสินใจของผู้บริหาร ดังนั้น EIS ที่ดี จะต้องมีการใช้ฐานข้อมูลขององค์การได้อย่างรวดเร็วแล้ว ยังจะต้องออกแบบให้สามารถเชื่อมโยงกับแหลงข้อมูลที่มาจากภายนอกองค์การ เพื่อให้ได้ซึ่งข้อมูลที่สำคัญที่จำเป็นต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
3. มีความสามารถในการคำนวณภาพกว้าง (Broad-based Computing Capabilities)
การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอนและขาดความชัดเจน โดยส่วนใหญ่จะมองถึงภาพโดยรวมของระบบแบบกว้าง ๆ ไม่ลงลึกในรายละเอียด ดังนั้นการคำนวณที่ผู้บริหารต้องการจึงเป็นลักษณะง่าย ๆ ชัดเจน เป็นรูปธรรม และไม่ซับซ้อนมาก เช่น การเรียกข้อมูลกลับมาดู การใช้กราฟ การใช้แบบจำลองแสดงภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน (Exceptional Ease of Learning and Use)
ผู้บริหารจะมีกิจกรรมที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอกองค์การ ผู้บริหารจึงมีเวลาในการตัดสินใจในแต่ละงานน้อยหรือกล่าวได้ว่าเวลาของผู้บริหารมีค่ามาก ดังนั้นการพัฒนา EIS จะต้องเลือกรูปแบบการแสดงผลหรือการโต้ตอบกับผู้ใช้ในแนวทางที่ง่ายต่อการใช้งาน และใช้ระยะเวลาสั้น เช่น การแสดงผลรูปกราฟ ภาษาที่ง่าย และการโต้ตอบที่รวดเร็ว
5. พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร (Customization)
การตัดสินใจของผู้บริหารส่วนใหญ่จะมีความสัมพันธ์ต่อพนักงานอื่น และต่อการดำเนินธุรกิจขององค์การ ซึ่งเป็นสิ่งที่นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst and Designer) ต้องคำนึงถึงในการพัฒนา EIS เพื่อให้สามารถพัฒนา EIS ให้มีศักยภาพสูง มีประสิทธิภาพดีเหมาะสมกับการใช้งานและเป็นแบบเฉพาะสำหรับผู้บริหารที่จะเข้าถึงข้อมูลได้ตามต้องการ
ข้อดีของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง
2. ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น
4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำเสนออย่างชัดเจน
5. ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ
6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อจำกัดของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
1. มีข้อจำกัดในการใช้งาน เนื่องจาก EIS ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง
2. ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริหาร
3. ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์การจะได้รับ
4. ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลผลที่ซับซ้อนและหลากหลาย
5. ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล
6. ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมูลและของระบบ
7. ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล

http://61.19.192.247/webnkw-bak020812/www/nakhonsawan/intra/mis/eis/index.php
ประเภทของการตัดสินใจในระบบสารสนเทศ
ประเภทการตัดสินใจในระบบสารสนเทศ
1. การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (Structured Decision) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่มีขั้นตอน กระบวนการในการแก้ปัญหาที่แน่ชัด สามารถกำหนดโครงสร้าง หรือกฎเกณฑ์ในการตัดสินใจ เช่น การตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่งซื้อสินค้าคงคลัง
2. การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Decision) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่สามารถกำหนดกระบวนการตัดสินใจล่วงหน้า เช่น การคัดเลือกผู้บริหารเข้าทำงาน การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
3. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Decision) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่สามารถระบุกระบวนการ หรือวิธีการตัดสินใจได้ล่วงหน้าในบางส่วน แต่ไม่มากพอที่จะนำไปสู่การตัดสินใจตามที่แนะนำได้อย่างแน่นอน ต้องใช้ประสบการณ์ของผู้ตัดสินใจ เช่น โมเดลทางคณิตศาสตร์ ทางสถิติ ทางการเงิน

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ(Decision Support Systems)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ คืออะไร
DSS เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสานการทำงานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทำโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอนหรืออาจกล่าวได้ว่า DSS เป็นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคำตอบที่ง่าย สะดวก รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน ดังนั้นระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ จึงประกอบด้วยชุดเครื่องมือ ข้อมูล ตัวแบบ (Model) และทรัพยากรอื่นๆ ที่ผู้ใช้หรือนักวิเคราะห์นำมาใช้ในการประเมินผลและแก้ไขปัญหา ดังนั้นหลักการของ DSS จึงเป็นการให้เครื่องมือที่จำเป็นแก่ผู้บริหาร ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีรูปแบบที่ซับซ้อน แต่มีวิธีการปฏิบัติที่ยืดหยุ่น DSS จึงถูกออกแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่เพียงแต่การตอบสนองในเรื่องความต้องการของข้อมูลเท่านั้น
DSS เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสานการทำงานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทำโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอนหรืออาจกล่าวได้ว่า DSS เป็นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคำตอบที่ง่าย สะดวก รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน ดังนั้นระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ จึงประกอบด้วยชุดเครื่องมือ ข้อมูล ตัวแบบ (Model) และทรัพยากรอื่นๆ ที่ผู้ใช้หรือนักวิเคราะห์นำมาใช้ในการประเมินผลและแก้ไขปัญหา ดังนั้นหลักการของ DSS จึงเป็นการให้เครื่องมือที่จำเป็นแก่ผู้บริหาร ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีรูปแบบที่ซับซ้อน แต่มีวิธีการปฏิบัติที่ยืดหยุ่น DSS จึงถูกออกแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ไม่เพียงแต่การตอบสนองในเรื่องความต้องการของข้อมูลเท่านั้น
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) หรือ MIS คือระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นในอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไอเอสจะต้อง ให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง
แม้ว่าผู้บริหารที่จะได้รับประโยชน์จาก ระบบเอ็มไอเอสสูงสุดคือผู้บริหารระดับกลาง แต่โดยพื้นฐานของระบบเอ็มไอเอสแล้ว จะเป็นระบบที่ สามารถสนับสนุนข้อมูลให้ ผู้บริหารทั้งสามระดับ คือทั้งผู้บริหารระดับต้น ผู้บริหารระดับกลาง และผู้บริหารระดับสูง โดยระบบเอ็มไอเอสจะให้รายงาน ที่สรุปสารสนเทศซึ่งรวบรวมจากฐานข้อมูลทั้งหมดของบริษัท จุดประสงค์ ของรายงานจะเน้นให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นแนวโน้ม และภาพรวม ขององค์กรในปัจจุบัน รวมทั้งามารถควบคุมและตรวจสอบงานของระดับปฏิบัติการด้วย อย่างไรก็ดี ขอบเขตของรายงาน จะขึ้นอยู่กับ ลักษณะของสารสนเทศ และจุดประสงค์การใช้งาน โดยอาจมีรายงานที่ออกทุกคาบระยะเวลา (เช่น งบกำไรขาดทุนหรืองบดุล) รายงานตามความต้องการ หรือรายงานตามสภาวะการณ์หรือเหตุผิดปกติ
การนำไปใช้งานสามารถแบ่งได้ 4 ระดับดังนี้
1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการวางแผนนโยบาย กลยุทธ์ และการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในส่วนยุทธวิธีในการวางแผนการปฏิบัตและการตัดสินใจของผู้บริหารระดับกลาง
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในระดับปฎิบัติการและการควบคุมในขั้นตอนนี้ผู้บริหารระดับล่างจะเป็นผู้ใช้สารสนเทศเพื่อช่วยในการปฎิบัติงาน
4. ระบบสารสนเทศที่ได้จากการประมวลผล ระบบสารสนเทศเป็นระบบรวมทั้งนี้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมในลักษณะระบบเดียวเนื่องจากขนาดข้อมูลมีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนมาก ทำให้การบริหารข้อมูลทำได้อยาก การนำไปใช้ไม่สะดวก จึงจำเป็นต้องแบ่งระบบสารสนเทศออกเป็นระบบย่อย 4 ส่วนได้แก่
4.1 ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing System :TPS)
4.2 ระบบจัดการรายงาน (Management Reporting System :MRS)
4.3 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System : DSS)
4.4 ระบบสารสนเทศสำนักงาน (Office Information System :OIS)
ลักษณะของระบบ MIS ที่ดี
ระบบเอ็มไอเอส จะสนับสนุนการทำงานของระบบประมวลผลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลรายวัน
ระบบเอ็มไอเอส จะใช้ฐานข้อมูลที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน และสนับสนุนการทำงานของฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร
ระบบเอ็มไอเอส จะช่วยให้ผู้บริหารระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง เรียกใช้ข้อมูลที่เป็นโครงสร้างได้ตามเวลาที่ต้องการ ระบบเอ็มไอเอส จะมีความยืดหยุ่นและสามารถรองรับความต้องการข้อมูลที่เปลี่ยนแปลงไปขององค์กร
ระบบเอ็มไอเอส ต้องมีระบบรักษาความลับของข้อมูล และจำกัดการใช้งานของบุคลเฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น

คำศัพท์และความหมาย ที่เกี่ยวข้อง "การพัฒนาระบบสารสนเทศ"
1) DATA (ดาต้า) หมายถึง ข้อมูล ทุกสิ่งที่นำเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ 2) DATABASE หมายถึง ฐานข้อมูล ที่รวมของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน และจัดเป็นหมวดหมู่เพื่อให้ค้นคืนได้ง่าย 3) DIGITAL หมายถึง ดิจิตอล, การแสดงข้อมูลในรูปของตัวเลข 4) FILE (ไฟล์) หมายถึง แฟ้มข้อมูล กลุ่มของเรดคอร์ดตั้งแต่ 1 เรดคอร์ดขึ้นไปรวมถึงมีความหมายเกี่ยวพันในเรื่องเดียวกัน เช่น เรดคอร์ดของพนักงานทั้งหมดในบริษัท 5) HARDWARE (ฮาร์ดแวร์) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบกันขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น จอมอนิเตอร์ เคส ฮาร์ดดิสก์ 6) SOFTWARE (ซอฟต์แวร์) หมายถึง โปรแกรมควบคุมระบบ โปรแกรมอำนวยความสะดวกหรือโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ( sortware packege : โปรแกรมสำเร็จรูป ) 7) LOGIN หมายถึง การติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ Cool LOGOUT หมายถึง การเลิกติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เลิกการใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์ 9) LOAD หมายถึง บรรจุ การบรรจุโปรแกรมจากแผ่นจานแม่เหล็กลงสู่หน่วยความจำหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ 10) MODEM หมายถึง โมเด็ม อุปกรณ์รอบนอกชนิดหนึ่งซึ่งช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถส่งและรับข้อมูลผ่านทางสายโทรศัพท์ อุปกรณ์สื่อสารข้อมูลมีหน้าที่แปลงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินอลเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งผ่านสายโทรศัพท์และเปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้ากลับเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์เมื่อถึงปลายทาง ย่อมาจาก “Modulate Demodulator” 11) ON-LINE (ออนไลน์) หมายถึง การทำงานโดยการติดต่อสื่อสารโดยเครื่อง คอมพิวเตอร์ การทำงานโดยอยู่ในความควบคุมของซีพียู เช่น เครื่องพิมพ์ ถ้า ON-LINE จะรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ จะไปรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ 12) NETWORK หมายถึง เครือข่าย ระบบที่มีการเชื่อมโยงกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องเทอร์มินอล หรือ 1. การเป็นสมาชิกมีสายสัมพันธ์กับองค์กร เพื่อประโยชน์ทางข้อมูลข่าวสารและวิชาชีพ 2. ในวงการเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง เครือข่ายการสื่อสารผ่านส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ในระบบนั้น เช่น เครือข่ายของระบบโทรคมนาคม ,เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องอาศัยเชื่อมโยงกับระบบโทรคมนาคมด้วย หรือ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อต่อกันเป็นกลุ่มโดยระบบเครือข่ายมีทั้งระบบเครือข่ายคลุมพื้นที่กว้าง (LAN :Local Area Network) , ระบบเครือข่ายส่วนบุคคลหรือกึ่งส่วนบุคคลปกติไว้ใช้รับส่งข้อมูลเชิงพาณิชย์ (VAN : Value-Added Network), ระบบเครือข่ายในเขตปริมณฑล (MAN : Metropolitan Area Network) ระบบเครือข่ายในมหาวิทยาลัย (CAN : campus Area Network) 13) PASSWORD หมายถึง รหัสผ่าน รหัสซึ่งเป็นความลับ รู้เฉพาะผู้ใช้งานเพียงคนเดียวใช้ในการติดต่อระบบที่มีผู้ใช้งานหลายคนเพื่อป้องกันบุคคลอื่นซึ่งไม่มีหน้าที่เข้าถึงโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูล 14) IP หรือ Internet Protocol หมายถึง มาตรฐานในการติดต่อสื่อสารเลเยอร์ (Layer) ที่ 3 (มาตรฐาน ISO มี 7 Layer) ของเครือข่ายที่ควบคุมกิจกรรมในการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบอินเตอร์เน็ต 15) IRC หรือ Internet Relay Chat หมายถึง โปรแกรมบริการ ที่ทำให้ผู้ใช้สามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่นในระบบอินเตอร์เน็ต 16) ISP หรือ Internet Service Provider หมายถึง ผู้ให้บริการทางอินเตอร์เน็ต โดยคดค่าบริการจากเวลาในการใช้งานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อัตราค่าบริการขึ้นกับบริษัทของแต่ละประเทศ ตัวอย่างผู้ให้บริการทางอินเตอร์เน็ตในประเทศไทย เช่น เคเอสซี , ไอเน็ต, เอเน็ต, ล็อกซ์อินโฟ, เอเชียเน็ต เป็นต้น 17) MIME ย่อมาจาก Multipurpose Internet Mail Extensions หมายถึง มาตรฐานสำหรับระบุชนิดของข้อมูล ซึ่งถูกคิดค้นมาเพื่อการแนบไฟล์ไปกับอี-เ มล์ (E-mail) แต่ต่อมาถูกใช้ในหลายๆ งาน เช่น ระบบเวบ (Web) ด้วย เช่น เท็กซ์/เอชทีเอ็มแอล (text/html) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร และเป็นข้อมูล HTML 18) SLIP หรือ Serial Lind Internet Protocol หมายถึง ข้อกำหนด หรือวิธีของการเชื่อมโยงอินเตอร์เน็ตแบบอนุกรม โดยผู้ใช้หรือบริษัทใช้สายโทรศัพท์และโมเด็ม (Modem) โดยไม่ต้องผ่าน เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Host computer) เพื่อเชื่อมโยงกับระบบอินเตอร์เน็ตการเชื่อมโยง “SLIP” ต้องเช่าจากผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) 19) TCP/IP หรือ Transmission Control Protocol/Internet Protocol หมายถึง กฏเกณฑ์ หรือมาตรฐานที่ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันในระบบอินเตอร์เนต ให้ติดต่อกันได้โดย IP ทำหน้าที่แยกข่าวสาร (Message) เป็น Package ย่อยๆ ส่วน TCP ทำหน้าที่จัด และรวม packets ทั้งหมดเป็นข่าวสาร 20) VOIP ย่อมาจาก Voice Over IP หรือ Voice Over Internet Protocol หมายถึง เทคโนโลยีส่งข้อมูลแบบเสียง โดยนำข้อมูลเสียงมา แปลงให้อยู่ในรูปของ Packet แบบ IP แล้วส่งไปในเครือข่าย
http://wintesla2003.com/topic/150366
ยกตัวอย่าง"การพัฒนาระบบสารสนเทศ"
3. ยกตัวอย่าง"การพัฒนาระบบสารสนเทศ"
ระบบล้างรถอัตโนมัติ
ระบบสารสนเทศประกอบด้วย ส่วนหลักดังรูปที่ 3
ส่วนที่นำเข้า คือ รถที่สกปรก น้ำ และน้ำยาต่างๆ ที่ใช้ในการล้างรถ เวลาและพลังงานถูกใช้ในการปฏิบัติการล้างรถ ทักษะได้แก่ความสามารถเฉพาะอย่างจะถูกนำมาใช้ในการฉีดสเปรย์ ขัดโฟม และเป่าแห้ง ความรู้ถูกนำมาใช้ในการกำหนดขั้นตอนการทำงานของการล้างรถให้ทำงานไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
การประมวลผล ประกอบด้วย ขั้นที่หนึ่ง การเลือกประเภทการล้างรถที่ต้องการ เช่น ล้างอย่างเดียว ล้างและขัดเงา ล้างและขัดเงาและเป่าแห้งฯลฯ และขั้นต่อไปทำการนำรถเข้าไปในเครื่องล้างรถ (สังเกตว่าในส่วนนี้จะเกิดกลไกของผลสะท้อนกลับขึ้น ได้แก่การประเมินผลของเจ้าของรถที่มีต่อขบวนการล้างรถที่กำลังเกิดขึ้น) จากนั้นของฉีดของเหลวจะฉีดน้ำ สบู่เหลว หรือครีมขัดเงาไปที่รถ ขึ้นอยู่กับตัวเลือกที่เลือกไว้ในตอนต้น
ส่วนที่แสดงผล คือรถที่สะอาดแล้ว
จากตัวอย่าง จะเห็นว่าส่วนประกอบอิสระต่างๆ ในระบบล้างรถอัตโนมัติ เช่นเครื่องฉีดของเหลว แปลงสำหรับทางโฟม และเครื่องเป่าแห้ง ทำงานโต้ตอบกัน เพื่อให้รถสะอาดนั่นเอง

http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Management%20Information%20Systems/mis2.htm
ระบบล้างรถอัตโนมัติ
ระบบสารสนเทศประกอบด้วย ส่วนหลักดังรูปที่ 3
ส่วนที่นำเข้า คือ รถที่สกปรก น้ำ และน้ำยาต่างๆ ที่ใช้ในการล้างรถ เวลาและพลังงานถูกใช้ในการปฏิบัติการล้างรถ ทักษะได้แก่ความสามารถเฉพาะอย่างจะถูกนำมาใช้ในการฉีดสเปรย์ ขัดโฟม และเป่าแห้ง ความรู้ถูกนำมาใช้ในการกำหนดขั้นตอนการทำงานของการล้างรถให้ทำงานไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
การประมวลผล ประกอบด้วย ขั้นที่หนึ่ง การเลือกประเภทการล้างรถที่ต้องการ เช่น ล้างอย่างเดียว ล้างและขัดเงา ล้างและขัดเงาและเป่าแห้งฯลฯ และขั้นต่อไปทำการนำรถเข้าไปในเครื่องล้างรถ (สังเกตว่าในส่วนนี้จะเกิดกลไกของผลสะท้อนกลับขึ้น ได้แก่การประเมินผลของเจ้าของรถที่มีต่อขบวนการล้างรถที่กำลังเกิดขึ้น) จากนั้นของฉีดของเหลวจะฉีดน้ำ สบู่เหลว หรือครีมขัดเงาไปที่รถ ขึ้นอยู่กับตัวเลือกที่เลือกไว้ในตอนต้น
ส่วนที่แสดงผล คือรถที่สะอาดแล้ว
จากตัวอย่าง จะเห็นว่าส่วนประกอบอิสระต่างๆ ในระบบล้างรถอัตโนมัติ เช่นเครื่องฉีดของเหลว แปลงสำหรับทางโฟม และเครื่องเป่าแห้ง ทำงานโต้ตอบกัน เพื่อให้รถสะอาดนั่นเอง

http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Management%20Information%20Systems/mis2.htm
ขั้นตอน"การพัฒนาระบบสารสนเทศ"
ขั้นตอน การพัฒนาระบบสารสนเทศ มีทั้งหมด 7
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ มีดังนี้
1. ขั้นการสำรวจ (Survey)
เป็นงานขั้นแรกที่กระทำ โดยนักวิเคราะห์จะสอบถามผู้บริหาร ซึ่งเป็นผู้ใช้งาน MIS ถึงความต้อง
การต่างๆ ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อจะได้เสนอแนะวิธีที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา บางครั้งเรียกว่า การ
ศึกษาความเป็นไปได้ "Feasibility Study"
2. การวิเคราะห์โครงสร้าง (Structured Analysis)
เป็นขั้นตอนที่นำผลการศึกษาถึงความเป็นไปได้ รวมทั้งการสอบถามเพิ่มเติมจากผู้ใช้ MIS
เพื่อนำมาประเมินเกี่ยวกับงบประมาณและระยะเวลาในการออกแบบและใช้งาน MIS เอกสาร
จากการวิเคราะห์โครงสร้างมักอยู่ในรูปของกราฟ หรือ รูปภาพแสดงขั้นตอนต่างๆ
3. การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
เป็นการพิจารณาจำนวนโปรแกรมที่จะใช้ภายในระบบ แต่ละโปรแกรมจะทำงานเป็นอิสระอยู่ใน
ลักษณะโมดูลโปรแกรม (Program Module)
4. การศึกษาถึงฮาร์ดแวร์ (Hardware Study)
การศึกษาถึงฮาร์ดแวร์ที่จะใช้ในระบบ MIS เป็นงานสองขั้นตอนที่สามารถดำเนินไปพร้อมๆ กัน
5. ขั้นตอนการจัดเตรียมอุปกรณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Implementation)
เป็นขั้นตอนที่เปลี่ยนการทำงานจากระบบเดิมไปสู่ระบบใหม่ ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด ซึ่งมี
ผู้บริหารงานจะต้องวิเคราะห์ความเหมาะสมว่าจะเปลี่ยนแปลงโดยวิธีใด
6. ขั้นเปลี่ยนไปใช้คอมพิวเตอร์ (Conversion)
เมื่อผ่านขั้นตอนการจัดเตรียมอุปกรณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์แล้ว นำข้อมูลหรือโปรแกรม
ต่างๆ ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะนำไปใช้งานต่อไป
7. การศึกษาปัญหาหลังการใช้ MIS และการบำรุงรักษา (Post Implementation and
Maintenance)
เป็นขั้นตอนการประเมินผลการใช้งานระบบใหม่ โดยนำไปเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากการวิเคราะห์และการ
สำรวจ ว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด แล้วทำการปรับระบบหรือเปลี่ยนระบบให้เหมาะสม

http://www.swpark.or.th/sdlcproject/index.php/component/content/article/14-sample-data-articles/87-2013-08-09-08-39-48
ขั้นตอนในการพัฒนาระบบสารสนเทศ มีดังนี้
1. ขั้นการสำรวจ (Survey)
เป็นงานขั้นแรกที่กระทำ โดยนักวิเคราะห์จะสอบถามผู้บริหาร ซึ่งเป็นผู้ใช้งาน MIS ถึงความต้อง
การต่างๆ ปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อจะได้เสนอแนะวิธีที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา บางครั้งเรียกว่า การ
ศึกษาความเป็นไปได้ "Feasibility Study"
2. การวิเคราะห์โครงสร้าง (Structured Analysis)
เป็นขั้นตอนที่นำผลการศึกษาถึงความเป็นไปได้ รวมทั้งการสอบถามเพิ่มเติมจากผู้ใช้ MIS
เพื่อนำมาประเมินเกี่ยวกับงบประมาณและระยะเวลาในการออกแบบและใช้งาน MIS เอกสาร
จากการวิเคราะห์โครงสร้างมักอยู่ในรูปของกราฟ หรือ รูปภาพแสดงขั้นตอนต่างๆ
3. การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
เป็นการพิจารณาจำนวนโปรแกรมที่จะใช้ภายในระบบ แต่ละโปรแกรมจะทำงานเป็นอิสระอยู่ใน
ลักษณะโมดูลโปรแกรม (Program Module)
4. การศึกษาถึงฮาร์ดแวร์ (Hardware Study)
การศึกษาถึงฮาร์ดแวร์ที่จะใช้ในระบบ MIS เป็นงานสองขั้นตอนที่สามารถดำเนินไปพร้อมๆ กัน
5. ขั้นตอนการจัดเตรียมอุปกรณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Implementation)
เป็นขั้นตอนที่เปลี่ยนการทำงานจากระบบเดิมไปสู่ระบบใหม่ ถือว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุด ซึ่งมี
ผู้บริหารงานจะต้องวิเคราะห์ความเหมาะสมว่าจะเปลี่ยนแปลงโดยวิธีใด
6. ขั้นเปลี่ยนไปใช้คอมพิวเตอร์ (Conversion)
เมื่อผ่านขั้นตอนการจัดเตรียมอุปกรณ์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์แล้ว นำข้อมูลหรือโปรแกรม
ต่างๆ ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะนำไปใช้งานต่อไป
7. การศึกษาปัญหาหลังการใช้ MIS และการบำรุงรักษา (Post Implementation and
Maintenance)
เป็นขั้นตอนการประเมินผลการใช้งานระบบใหม่ โดยนำไปเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากการวิเคราะห์และการ
สำรวจ ว่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด แล้วทำการปรับระบบหรือเปลี่ยนระบบให้เหมาะสม

http://www.swpark.or.th/sdlcproject/index.php/component/content/article/14-sample-data-articles/87-2013-08-09-08-39-48
ความหมายและความสำคัญของ "การพัฒนาระบบสารสนเทศ"
ความหมาย
การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ใช้เทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์ และการออกแบบระบบสารสนเทศขององค์การให้สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบางครั้งจะเรียกวิธีการดำเนินงานในลักษณะนี้ว่า “การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design)” เนื่องจากผู้พัฒนาระบบต้องศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการ การไหลเวียนของข้อมูล ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำเข้า ทรัพยากรดำเนินงาน และผลลัพธ์ เพื่อทำการออกแบบระบบสารสนเทศใหม่ แต่ในความเป็นจริงการพัฒนาระบบมิได้สิ้นสุดที่การออกแบบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องดูแลการจัดหา การติดตั้ง การดำเนินงาน และกระประเมินระบบว่าสามารถดำเนินงานได้ตามต้องการหรือไม่ ตลอดจนกำหนดแนวทางในการพัฒนาระบบในอนาคต อย่างไรก็ดีจะใช้ทั้ง “การพัฒนาระบบ” และ “การวิเคราะห์และออกแบบระบบ” ในความหมายที่ทดแทนกัน การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นงานที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวข้องกับบุคลากรและส่วนประกอบขององค์การในหลายด้าน จึงต้องมีแนวทางและแผนดำเนินงานที่เป็นระบบ เพื่อที่จะให้ระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมีความสมบูรณ์ตรงตามความต้องการและสร้างความพอใจแก่ผู้ใช้ แต่ถ้าระบบที่พัฒนาขึ้นมีปัญหารหรือขาดความเหมาะสมก็อาจก่อให้เกิดผลเสียทั้งโดยตรงและทางอ้อมแก่ธุรกิจ โดยเฉพาะในด้านค่าใช้จ่ายที่สูงและความเชื่อมั่นที่สูญเสียไป
ความสำคัญของผู้ใช้ต่อการพัฒนาระบบ
ผู้ใช้ระบบ (System User) หมายถึง ผู้จัดการที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศขององค์การและ หรือเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานกับระบบสารสนเทศ ผู้ใช้จะเป็นบุคคลที่ใช้งานและปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศโดยตรง เช่น จัดเก็บ ปรับปรุง ประมวลผลข้อมูล และนำข้อมูลมากใช้งาน เป็นต้น ดังนั้นผู้ใช้ระบบสมควรมีบทบาทที่สำคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ตั้งแต่เริ่มต้นที่จะพัฒนาระบบให้กับองค์การ โดยบุคคลหรือกลุ่มสมควรที่จะมีการทำงานที่ใกล้ชิดกับทีมงานผู้พัฒนาระบบ หรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของทีมงานผู้พัฒนาระบบ เพื่อให้การพัฒนาระบบใหม่สำเร็จลงด้วยดีทั้งในด้านงบประมาณ กรอบของระยะเวลาและตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ปกติการพัฒนาระบบสารสนเทศอาจอาศัยแนวทางการค้นพบปัญหาที่มีอยู่และ/หรือโอกาสในการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้นเมื่อเริ่มต้นที่จะพัฒนาระบบ ผู้ใช้ในฐานะบุคคลที่มีประสบการณ์ตรง (Firstname Experience) กับระบบงานจะต้องให้ข้อมูลสำคัญแก่ทีมงานพัฒนาระบบโดยแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลต่อไปนี้
1. สารสนเทศที่องค์การหรือหน่วยงานต้องการ แต่ยังไม่มีระบบใดในปัจจุบันที่จะช่วยให้ได้มาซึ่งข้อมูลหรือสารสนเทศนั้น
2. ผู้ใช้ระบบไม่พอใจต่อสิ่งใด ขั้นตอนหรือส่วนประกอบใดในระบบปัจจุบัน เป็นต้นว่าระบบเดิมมีการทำงานที่ยุ่งยากหรือมีหลายขั้นตอนในการเข้าถึงและจัดการข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ต้องเสียเวลานาน และสารสนเทศที่ได้มาอาจมีความผิดพลาดไม่ทันเวลา หรือไม่ตรงตามต้องการ เป็นต้น
3. ผู้ใช้ระบบมีความต้องการให้ระบบใหม่มีรูปแบบและคุณลักษณะอย่างไร มีส่วนประกอบอะไรบ้าง และสามารถทำงานได้อย่างไร
ข้อมูลจากผู้ใช้ระบบเป็นข้อมูลเริ่มต้นที่ทีมงานพัฒนาระบบนำมาประกอบการพัฒนาระบบใหม่ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้ระบบมีส่วนร่วม และมีความพึงพอใจที่จะใช้ระบบใหม่ที่พัฒนาขึ้น ซึ่งจะมีผลทางจิตวิทยาต่อการยอมรับและการนำระบบใหม่ไปใช้งานhttp://w

http://www.acisonline.net/article/?p=12
https://http://www.youtube.com/watch?v=NWQavOB7g4w
การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการที่ใช้เทคนิคการศึกษา การวิเคราะห์ และการออกแบบระบบสารสนเทศขององค์การให้สามารถดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบางครั้งจะเรียกวิธีการดำเนินงานในลักษณะนี้ว่า “การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design)” เนื่องจากผู้พัฒนาระบบต้องศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการ การไหลเวียนของข้อมูล ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำเข้า ทรัพยากรดำเนินงาน และผลลัพธ์ เพื่อทำการออกแบบระบบสารสนเทศใหม่ แต่ในความเป็นจริงการพัฒนาระบบมิได้สิ้นสุดที่การออกแบบ ผู้พัฒนาระบบจะต้องดูแลการจัดหา การติดตั้ง การดำเนินงาน และกระประเมินระบบว่าสามารถดำเนินงานได้ตามต้องการหรือไม่ ตลอดจนกำหนดแนวทางในการพัฒนาระบบในอนาคต อย่างไรก็ดีจะใช้ทั้ง “การพัฒนาระบบ” และ “การวิเคราะห์และออกแบบระบบ” ในความหมายที่ทดแทนกัน การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นงานที่ละเอียดอ่อนเกี่ยวข้องกับบุคลากรและส่วนประกอบขององค์การในหลายด้าน จึงต้องมีแนวทางและแผนดำเนินงานที่เป็นระบบ เพื่อที่จะให้ระบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมีความสมบูรณ์ตรงตามความต้องการและสร้างความพอใจแก่ผู้ใช้ แต่ถ้าระบบที่พัฒนาขึ้นมีปัญหารหรือขาดความเหมาะสมก็อาจก่อให้เกิดผลเสียทั้งโดยตรงและทางอ้อมแก่ธุรกิจ โดยเฉพาะในด้านค่าใช้จ่ายที่สูงและความเชื่อมั่นที่สูญเสียไป
ความสำคัญของผู้ใช้ต่อการพัฒนาระบบ
ผู้ใช้ระบบ (System User) หมายถึง ผู้จัดการที่ควบคุมและดูแลระบบสารสนเทศขององค์การและ หรือเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานกับระบบสารสนเทศ ผู้ใช้จะเป็นบุคคลที่ใช้งานและปฏิสัมพันธ์กับระบบสารสนเทศโดยตรง เช่น จัดเก็บ ปรับปรุง ประมวลผลข้อมูล และนำข้อมูลมากใช้งาน เป็นต้น ดังนั้นผู้ใช้ระบบสมควรมีบทบาทที่สำคัญในการพัฒนาระบบสารสนเทศ ตั้งแต่เริ่มต้นที่จะพัฒนาระบบให้กับองค์การ โดยบุคคลหรือกลุ่มสมควรที่จะมีการทำงานที่ใกล้ชิดกับทีมงานผู้พัฒนาระบบ หรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของทีมงานผู้พัฒนาระบบ เพื่อให้การพัฒนาระบบใหม่สำเร็จลงด้วยดีทั้งในด้านงบประมาณ กรอบของระยะเวลาและตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
ปกติการพัฒนาระบบสารสนเทศอาจอาศัยแนวทางการค้นพบปัญหาที่มีอยู่และ/หรือโอกาสในการแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้นเมื่อเริ่มต้นที่จะพัฒนาระบบ ผู้ใช้ในฐานะบุคคลที่มีประสบการณ์ตรง (Firstname Experience) กับระบบงานจะต้องให้ข้อมูลสำคัญแก่ทีมงานพัฒนาระบบโดยแจกแจงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลต่อไปนี้
1. สารสนเทศที่องค์การหรือหน่วยงานต้องการ แต่ยังไม่มีระบบใดในปัจจุบันที่จะช่วยให้ได้มาซึ่งข้อมูลหรือสารสนเทศนั้น
2. ผู้ใช้ระบบไม่พอใจต่อสิ่งใด ขั้นตอนหรือส่วนประกอบใดในระบบปัจจุบัน เป็นต้นว่าระบบเดิมมีการทำงานที่ยุ่งยากหรือมีหลายขั้นตอนในการเข้าถึงและจัดการข้อมูล ทำให้ผู้ใช้ต้องเสียเวลานาน และสารสนเทศที่ได้มาอาจมีความผิดพลาดไม่ทันเวลา หรือไม่ตรงตามต้องการ เป็นต้น
3. ผู้ใช้ระบบมีความต้องการให้ระบบใหม่มีรูปแบบและคุณลักษณะอย่างไร มีส่วนประกอบอะไรบ้าง และสามารถทำงานได้อย่างไร
ข้อมูลจากผู้ใช้ระบบเป็นข้อมูลเริ่มต้นที่ทีมงานพัฒนาระบบนำมาประกอบการพัฒนาระบบใหม่ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้ระบบมีส่วนร่วม และมีความพึงพอใจที่จะใช้ระบบใหม่ที่พัฒนาขึ้น ซึ่งจะมีผลทางจิตวิทยาต่อการยอมรับและการนำระบบใหม่ไปใช้งานhttp://w

http://www.acisonline.net/article/?p=12
https://http://www.youtube.com/watch?v=NWQavOB7g4w
วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2556
infographic





การเจริญเติบโตของการทำธุรก
วันพฤหัสบดีที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ความหมายของ Game
กิจกรรมการเล่นการแข่งขันอย่างมีกฎเกณฑ์ เพื่อให้ผู้ร่วมแข่งขันรู้ข้อเท็จจริง หลักการต่างๆตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ การที่ครูผู้สอนคิดเกมมาประกอบการสอน จะมีส่วนทำให้บทเรียนนั้นน่าสนใจ น่าเรียน สนุกสนาน เพลิดเพลิน อีกทั้งยังช่วยให้นักเรียนจดจำบทเรียนได้ง่ายและรวดเร็วอีกด้วย
ประเภทของเกมประกอบการเรียนการสอน
ที่มาhttps://sites.google.com/site/kemmhaphaythaleyxnakht/

ความหมายของธุรกิจ
ธุรกิจ(Business) หมายถึง การกระทำหรือกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่ดำเนินงานเกี่ยวกับสถาบันการผลิต การจำหน่าย และการให้บริการ โดยกลุ่มบุคคลมีการกระทำร่วมกันเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ กำไร หรือรายได้ เป็นการตอบแทนการลงทุนด้วยทรัพย์สินและแรงงานในกิจกรรมนั้น การกระทำดังกล่าวอาจจะเสี่ยงต่อการขาดทุนด้วย
ความหมายของธุรกิจอาจกล่าวได้กว้าง ๆ ว่า ธุรกิจเป็นกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจและการพาณิชย์ที่มีเป้าหมายทางด้านกำไรในการจัดหาสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค หรือ
ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวกับธนาคาร กาขนส่ง การก่อสร้าง การทำเหมืองแร่ และการให้บริการ หรือ
ธุรกิจ หมายถึง ขบวนการทั้งปวงของการนำทรัพยากรธรรมชาติมาเปลี่ยนสภาพด้วยขบวนการต่าง ๆ จนเป็นสินค้าและนำไปจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภค
ในสังคมล้อมรอบตัวเราสามารถมองเห็นการประกอบธุรกิจและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องตลาดเวลาในฐานะผู้ผลิต และผู้บริโภค ธุรกิจการผลิต ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ผลิตสินค้า ผู้ผลิตสินค้าขนาดย่อม ธุรกิจซื้อขายสินค้า ได้แก่ ร้านค้าประเภทต่าง ๆ คนกลางที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย กิจการธนาคาร การประกันภัย การขนส่ง การเก็บรักษาสินค้า การให้บริการของภาครัฐและเอกชน เป็นต้น
สรุป ธุรกิจเป็นกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดสินค้าและบริการ เพื่อการแลกเปลี่ยนซื้อขายโดยมีวัตถุประสงค์จะได้รับประโยชน์จากการดำเนินกิจกรรมนั้น
ที่มาhttp://jariyapoopao.blogspot.com/2013/05/blog-post_2287.html
.jpg)
ที่มาhttp://jariyapoopao.blogspot.com/2013/05/blog-post_2287.html
ความหมายของE- commerce
E-Commerce ย่อมาจาก Electronic Commerce หรือที่เรียกว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยความหมายของคำว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีผู้ให้คำนิยามไว้เป็นจำนวนมาก แต่ไม่มีคำจำกัดความใดที่ใช้เป็นคำอธิบายไว้อย่างเป็นทางการ ซึ่งมีดังนี้
E-Commerce คือ การดำเนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, 2542)
E-Commerce คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (World Trade Organization: WTO, 1998)
E-Commerce คือ ธุรกรรมทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ทั้งในระดับองค์กรและส่วนบุคคล บนพื้นฐานของ การประมวลและการส่งข้อมูลดิจิทัลที่มีทั้งข้อความ เสียง และภาพ (OECD, 1997)
E-Commerce คือ กิจกรรมเชิงพาณิชย์ที่ดำเนินการโดยมีการแลกเปลี่ยน เก็บรักษา หรือสื่อสารข้อมูลข่าวสาร โดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ อีเมล์ และอื่น ๆ (Hill, 1997)
E-Commerce คือ การใช้วิธีการอิเล็กทรอนิกส์ในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น EDI การโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์ การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีการสื่อสารคมนาคมอื่น ๆ โทรทัศน์และการใช้อินเทอร์เน็ต (Palmer, 1997)
E-Commerce คือ การซื้อขายสินค้า บริการ และสารสนเทศผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอินเทอร์เน็ต (Turban et al, 2000)
สรุป E-Commerce หรือ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การประกอบธุรกิจการค้าผ่านสื่ออีเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ หรือ คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นช่องทางที่มีความสำคัญที่สุดในปัจจุบัน โดยมีระบบอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางในการเชื่อมโยงผู้ซื้อและผู้ขายให้สามารถทำการค้าระหว่างกันได้

ความหมายของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต ( Internet ) คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด ![]() ที่มา http://tc.mengrai.ac.th/paisan/e-learning/internet/page11.htm |
ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศในด้านธุรกิจ
ประโยชน์ คือ 1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์หรือในรูปของ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแต่ละวัน
3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ครั้งแล้วครั้งเล่าอย่างสะดวก
4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ด้วยการช่วยคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทำให้สำเร็จได้ด้วยมือ

5. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการเก็บ เรียกใช้และประมวลผลสารนิเทศ
6. สามารถจำลองแบบระบบการวางแผนและทำนาย เพื่อทดลองกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น
7. อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศดีกว่าสมัยก่อน ทำให้ผู้ใช้สารนิเทศมี ทางเลือกที่ดีกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และสามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ดีกว่า
8. ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางระหว่างประเทศ
ที่มา http://blog.eduzones.com/moobo/78858
2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแต่ละวัน
3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ครั้งแล้วครั้งเล่าอย่างสะดวก
4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ด้วยการช่วยคำนวณตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทำให้สำเร็จได้ด้วยมือ

5. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการเก็บ เรียกใช้และประมวลผลสารนิเทศ
6. สามารถจำลองแบบระบบการวางแผนและทำนาย เพื่อทดลองกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น
7. อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศดีกว่าสมัยก่อน ทำให้ผู้ใช้สารนิเทศมี ทางเลือกที่ดีกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และสามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ดีกว่า
8. ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางระหว่างประเทศ
ที่มา http://blog.eduzones.com/moobo/78858
ความหมายของมัลติมีเดีย
ความหมาย การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนำเอาข้อความ ภาพ
และเสียงในรูปแบบต่างๆ ซึ่งถูกบันทึกไว้ในรูปข้อมูล มาแสดงผลแปลงกลับเป็นข้อความ
ภาพ และเสียง ทางจอภาพและลำโพง ผสมผสานกัน
รวมทั้งควบคุมการแสดงผลของสื่อเหล่านั้นโดยโปรแกรม (Program) สั่งงานคอมพิวเตอร์
ที่มา https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ei=MV4DUpaxJ8WjigfTz4HICg&sqi=2&ved=0CAcQ_AUoAQ&biw=1440&bih=799#facrc=_&imgdii=_&imgrc=A7J3t205LSU1GM%3A%3BNSO2WpGYxAbX5M%3Bhttp%253A%252F%252F2.bp.blogspot.com%252F_GLLn1M2xd6s%252FTTOs-jyOJ0I%252FAAAAAAAAADU%252FLlOoAhx4zCM%252Fs200%252Fwinamp.gif%3Bhttp%253A%252F%252Ftle-ps.blogspot.com%252F2011%252F01%252Fblog-post_14.html%3B344%3B393
ที่มา https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%A2&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ei=MV4DUpaxJ8WjigfTz4HICg&sqi=2&ved=0CAcQ_AUoAQ&biw=1440&bih=799#facrc=_&imgdii=_&imgrc=A7J3t205LSU1GM%3A%3BNSO2WpGYxAbX5M%3Bhttp%253A%252F%252F2.bp.blogspot.com%252F_GLLn1M2xd6s%252FTTOs-jyOJ0I%252FAAAAAAAAADU%252FLlOoAhx4zCM%252Fs200%252Fwinamp.gif%3Bhttp%253A%252F%252Ftle-ps.blogspot.com%252F2011%252F01%252Fblog-post_14.html%3B344%3B393
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หมายถึง การแปรรูปข้ขอมูลต่างๆ ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี ทำให้สามารถเข้าถึงเข้ามูลได้ ง่ายสะดวก และรวดเร็ว ยกตัวอย่างเช่น กราฟแสดงข้อมูลตารางสถิติ
ที่มาของรูปภาพ http://www.cagit.uconn.edu/

ที่มาของรูปภาพ http://www.cagit.uconn.edu/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)